
การใช้สารสกัดจากพืชควบคุมแมลงศัตรูพืช
(The Use Plant Extracts in Controlling Insect Pests)
อำนวย อิศรางกูร ณ อยุธยา
เนื่องจากปัจจุบันการป้องกันและกำจัดศัตรูพืชของเกษตรกรต้องพึ่งสารป้องและกำจัดศัตรูพืชอันได้แก่ ยาฆ่าแมลงต่างๆ ซึ่งสารเหล่านี้นับวันจะมีราคาสูงขึ้นเรื่อยๆ และปัญหาจากการใช้สารพวกนี้ก็ติดตามมามากเช่น การดื้อยาของแมลง การแพ้ยาของผู้ใช้หรือผู้ที่อยู่ใกล้เคียง ตลอดจนสัตว์เลี้ยงและเกิดปัญหาพิษตกค้างบนพืชผลเกษตร ตลอดจนระบบนิเวศวิทยาที่สูญเสียไป
ในอดีตเกษตรเคยใช้สารพิษจากพืชบางชนิดในการป้องกันกำจัดศัตรูพืช ซึ่งสามารถใช้ได้ผลดีกับแมลงศัตรูพืชหลายชนิด เช่น ใบยาสูบใช้กำจัดแมลงจำพวกเพลี้ยอ่อนและหนอนผีเสื้อ โล่ติ้นใช้ในการกำจัดหนอนผีเสื้อ
ในปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์ทั่วโลก รวมทั้งนักวิทยาศาสตร์ไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งคณาจารย์ของภาควิชากีฏวิทยามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ทำการทดสอบพืชหลายชนิดเพื่อค้นหาว่าพืชชนิดใดมีสารที่จะนำมาประยุกต์ใช้ในการป้องกันกำจัดแมลงของตนได้โดยไม่ต้องพึ่งพาสารเคมีฆ่าแมลงโดยไม่พึ่งพาจากต่างประเทศ
จากผลการทดลองตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 มาจนปัจจุบัน มีพืชที่ผ่านการทดลองในรูปแบบต่างๆ กัน 231 ชนิด ปรากฎผลดังนี้คือ ได้พบพืชที่มีพิษต่อเพลี้ยอ่อน 18 ชนิด พืชที่มีพิษต่อหนอนกระทู้ 9 ชนิด พืชที่มีพิษต่อแมลงวัน 4 ชนิด พืชที่มีพิษต่อแมลงวันทอง 18 ชนิด พืชที่มีสารดึงดูดแมลงวันทอง 23 ชนิด พืชที่ไล่แมลงวันทอง 14 ชนิด
หลักการทำงาน
ใช้ความร้อนจากไอน้ำเดือนสกัดเป็นสารระเหยจากพืชกลายเป็นไอระเหย ผ่านท่อและควบแน่นด้วยน้ำหล่อเย็น กลายเป็นน้ำผสมสารระเหยจากพืช
วิธีการทำงาน
1. ใส่น้ำในถังสกัดให้ต่ำกว่าตะแกรง 2 นิ้ว และในถังควบแน่นให้เต็ม
2. ใส่ส่วนของพืช (ตัดหรือหั่นหรือทุบ) บนตะแกรง ให้เต็มตะแกรงชิดกับขอบถัง
3. ปิดฝารัดเข็มขัดให้แน่น ติดไฟเตาแก๊สต้มน้ำให้เดือด
4. ไอน้ำผสมกับสารระเหย จะผ่านไปยังท่อควบแน่นกลั่นตัวเป็นหยดน้ำ
5. รองน้ำผสมสารระเหยด้วยขวดแก้ว ก็จะได้น้ำสกัดสารระเหยจากพืชตามต้องการ
ประสิทธิภาพการทำงาน
น้ำหนักของพืชที่จะสกัด
(กิโลกรัม)
|
ระยะเวลา
(ชั่วโมง)
|
จำนวนสารสกัด
(ซีซี)
|
หมายเหตุ
|
3
|
1
|
3,000
|
ความเข้มข้น ประมาณ 68%
|
3
|
1.5
|
4,500
|
ความเข้มข้น ประมาณ 51%
|
3
|
2
|
6,000
|
ความเข้มข้น ประมาณ 35%
|
หมายเหตุ
ใช้ความร้อนระดับปานกลาง (น้ำเดือด 100 องศาเซลเซียส)
ตารางที่ 1 รายงานจากต่างประเทศเกี่ยวกับพืชยาฆ่าแมลงที่มีในไทย
ชื่อพืช
|
ส่วนของพืช
|
ประสิทธิภาพ
|
หนามขี้แรด
ตำแยแมว
ละมุด
ว่านน้ำ
โพธิสัตว์
ข่า, ข่าเล็ก
กระเทียม
มะม่วงหิมพานต์
ผักชีลาว(เทียนขาวเปลือก)
น้อยหน่า
คื่นฉ่าย
ถั่วลิสง
สะเดา
หนาดวัว
พืชพวกเฟื่องฟ้า
ผักคะน้า
กะกล่ำปลี
กะหล่ำดอก
|
ใบ
ใบ
เนื้อไม้
เหง้า
เมล็ด
หัว
หัว
เปลือกเมล็ด
ใบ
เมล็ด
ต้นและใบ
เมล็ด
เมล็ด
ทั้งต้น
กลีบดอกสด
ราก
ใบ
ราก
|
ป้องกันหนอน
รักษาแผลหนอนเจาะสัตว์
มีพิษต่อปลวก
ไล่ผีเสื้อและหมัด มีพิษต่อแมลงวัน, ยุง ฯลฯ
Feeding deterent ด้วงงวง
น้ำมันเป็นพิษกับแมลงวัน
เป็นพิษต่อลูกน้ำยุง, เห็บชนิดต่างๆ
น้ำมันเป็นพิษกันยุง, และด้วงงวงข้าว มอดเจาะไม้ ฯลฯ
ใบป่นเป็นผงเป็นพิษกับเห็บชนิดต่างๆ
น้ำมันเป็นพิษกับด้วงปีกแข็ง เพลี้ยอ่อนแมลงวัน
และมวนปีกแข็ง
ดึงดูดด้วงปีกแข็ง
น้ำมันฆ่ามวนปีแก้วมะเขือ
น้ำมันและเศษจากเมล็ดหยุดการกินอาหารของผีเสื้อ
ด้วงปีกแข็ง ตั๊กแตน หนแรกระทู้ผักฯลฯ (Azadiachin)
ใช้ไล่แมลงในอินเดียและอาฟริกาดึงดูดเลือดมาทำลาย
พิษต่อด้วง
มีพิษต่อแมลงหวี่และแมลงวัน
หยุดการเจริญเติบโตของหนอนเจาะลำต้นข้าวโพดและผีเสื้อเทียนไข (Indole-3-acetonitrille)
มีพิษต่อแมลงหวี่และแมลงวัน (2-phenyieth isothiocyanate)
|
ชื่อพืช
|
ส่วนของพืช
|
ประสิทธิภาพ
|
รัก
พริกขี้หนู
ชุมเห็ดเทศ
ชัยพฤกษ์
ชุมเห็ดเล็ก
สลอด
แตงกวา
ตะไคร้
ตะไคร้หอม
หญ้าแห้วหมู
ลำโพง
ส้มเช้า
Euphorbia sp
พญาไร้ใบ
ผักเสี้ยน
ทานตะวัน
ชบา
ผักคาวทอง
คราม
สบู่ดำ
บวบเหลี่ยม
เสม็ด
เลี่ยน
บานเย็น
มะระจีน
|
กลีบดอก
ทั้งต้น
ต้น
ต้น
ใบและต้น
เมล็ด
ต้น, เปลือก
หัว
ต้น
ต้น
หัว
ใบ
ราก
ดอก
ต้น
เมล็ด
ดอก
กลีบดอก
ใบและต้น
ราก
ผล
ต้น, ดอก, เมล็ด
ใบ
ใบ
ดอก
ต้น
|
หยุดการเจริญเติบโตของหนอนเจาะลำต้นข้าวโพดและผีเสื้อเทียนไข(Indole-3-acetonitrille)
มีพิษต่อแมลงหวี่และแมลงวัน(2-phenyiethyl isothiecyanate)
ใช้เป็นยาฆ่ามดในอาฟริกา
สารสกัดฆ่าปลวก
พวกซูลูใช้ป้องกันเห็บเหาตามร่างกาย
น้ำมันเป็นพิษต่อแมลงวันและคน
น้ำคั้นเป็นพิษต่อแมลงสาป
ไล่มด, น้ำยาสกัดเป็นพิษต่อแมลงวัน
น้ำมันเป็นพิษต่อยุงและแมลงวัน เป็นสารไล่ยุงและแมลงวัน
ดึงดูดแมลงวันทองตัวผู้
ไล่แมลง(alpha-cyperone)
ใบบดเป็นผงป้องกันหมัดและไร (hyoscine หรือscopolamine)
ผสมยาทาแผลสัตว์อันเกิดจากหนอนเจาะสัตว์
เป็นพิษต่อด้วงงวง ด้วงปีกแข็ง และบุ้ง
ใช้เป็นยาฆ่าแมลงในอินเดียและไล่ยุงใบแทนกายินา
น้ำมันฆ่าเหาและตัวเบียนอื่นๆ ของคน
น้ำยาสกัดใช้กำจัดแมลงวัน, น้ำมันดึงดูดมดบางชนิด
เป็นพิษต่อด้วงงวงข้าว
น้ำคั้นผสมยาฆ่าแมลงป้องกันปลวกและรา
กำจัดเหา, ไร ฯลฯ
เป็นพิษอย่างอ่อนต่อแมลงวันและยุง
เป็นพิษต่อด้วงงวงข้าว
น้ำมันเป็นพิษต่อตัวเรือด(cineole)
ไล่หนอนเจาะผลโกโก้, มอดแป้ง, ฆ่าหนอนกินกะหล่ำหยุดการเจริญเติบโตของหนอนเจาะฝักข้าวโพด
เชื่อว่าไล่ยุงได้
ในโฮติใช้เป็นยาฆ่าแมลงทั่วไป
|
ชื่อพืช
|
ส่วนของพืช
|
ประสิทธิภาพ
|
ยี่โถ
โหระพา
มันแกว
พริกหาง
พริกไทย
พิมเสน
ผักไผ่น้ำ
ละหุ่ง
ระย่อม
สารพัดพิษ
พวกผักคราด
สำโรง
รำเพย
หมักก้าก
ขิง
Curcuma sp
|
กลีบดอก
ทั้งต้น
เมล็ด
รากและผล
เมล็ด
ใบ
ทั้งต้น
ใบ
ทั้งต้น
เมล็ด
ผล
เปลือก, เมล็ด
ทั้งต้น
เปลือกลำต้น น้ำมันจากผล
หัว
หัว
|
เป็นพิษด้วงงวง, ด้วงปีกแข็ง, และบุ้งเป็นพิษน้อย ต่อยุงและแมลงวัน
น้ำมันเป็นพิษต่อไรและเพลี้ยอ่อน
ใช้เป็นยาฆ่าแมลงและเบื่อปลา
ผสมยาฆ่าแมลงมีพิษสูง
ผสมยาฆ่าแมลงทำให้มีพิษสูง พิษต่ำต่อแมลงวันและยุง
ใช้แป็นยาฆ่าแมลงในจีนและมาเลเซีย
ป้องกันแมลงวันวางไข่ตามแผลสัตว์
น้ำมันดึงดูดมดบางชนิดผสมเป็นเหยื่อพิษ
ทำหมันแมลงวัน
เป็นพิษต่อเพลี้ยอ่อน
ใช้เป็นยาฆ่าแมลง
น้ำมันทำให้แมลงวันเป็นหมัน
ใช้เป็นยาฆ่าแมลงในที่บางแห่ง
เป้ฯพิษต่อตั๊กแตนและแมลงวัน
มีพิษอย่างอ่อนต่อแมลงวัน
น้ำมันผสมกับน้ำมันว่านไล่ยุง
|
ตารางที่ 2 พืชที่มีสารพิษกำจัดแมลง (ผลจากการทดลองในภาควิชากีฏวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
ชื่อพืช
|
ส่วนของพืช
|
ประสิทธิภาพ
|
1. พืชที่เป็นพิษต่อเพลี้ยอ่อนว่านน้ำ
ข่าลิง
รัก
Cassia gorretiana
สลอด
ลำโพง
เถาวัลย์เปรียง
กลอย
ซาด
พญาไร้ใบ
ดอกดึง
ทานตะวัน
สบู่
ผกากรอง
เลี่ยน
มันแกว
สารพัดพิษ
แสลงใจ
2. พืชที่เป็นพิษต่อหนอนกระทู้
มะกล่ำตาหนู
ว่านน้ำ
น้อยหน่า
สะเดา
สลอด
ว่านเศรษฐี
มันแกว
หนอนตายหยาก
แสลงใจ
|
เหง้า
หัว
ใบ ดอก ผล
ใบ ดอก ผล
ผล
ใบ เมล็ด
ราก
หัว
เมล็ด ลำต้น
ต้น
เมล็ด หัว
ดอก
เมล็ด
ดอก
ใบ
เมล็ด
ต้น
ผล
เมล็ด
เหง้า
เมล็ด
เมล็ด เปลือก ต้น
ผล
ใบ
เมล็ด
ราก
ผล
|
สูง
สูง
สูง
สูง
สูง
สูง
สูง
สูง
สูง
สูง
สูง
สูง
สูง
สูง
สูง
สูง
สูง
สูง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
สูง
ปานกลาง
ปานกลาง
สูง
|
ชื่อพืช
|
ส่วนของพืช
|
ประสิทธิภาพ
|
3. พืชที่เป็นพิษต่อแมลงวัน
น้อยหน่า
สลอด
มันแกว
แสลงใจ
4. พืชที่เป็นพิษต่อแมลงวันทอง
ข่าเล็ก
น้อยหน่า
หมาก
โกษฐ์จุฬาลัมพา
ส้ม
สลอด
มะริดไม้
พญาไร้ใบ
เลี่ยน
เงาะ
ยาสูบพื้นเมือง
มหาประสาน
พริกไทย
หนอนตายหยาก
บัวตอง
ขิง
ช้างคาน
พระตะบะ
5. พืชที่มีสารดึงดูดแมลงวันทอง
กำแสด
พลับพลึง
ว่านชักมดลูก
|
เมล็ด
ผล
เมล็ด
ผล
หัว
เมล็ด
ผล
ทั้งต้น
เปลือก
ผล
กิ่ง
ต้น
ผล
เมล็ด
ใบ
ต้น
เมล็ด
ราก
ดอก
หัว
หัว
หัว
ผล
ใบ
หัว
|
สูง
สูง
สูง
สูง
สูง
สูง
ปานกลาง
สูง
ปานกลาง
สูง
สูง
สูง
สูง
สูง
สูง
สูง
สูง
ปานกลาง
สูง
สูง
สูง
สูง
ปานกลาง
สูง
ปานกลาง
|
ชื่อพืช
|
ส่วนของพืช
|
ประสิทธิภาพ
|
ตะไคร้หอมปากช่อง
ลำโพง
เขียวหมื่นปี
ซือแซ
เสน่ห์จันทน์โกเมน
เลี่ยน
มะระ
พลูฉีก
แก้ว
ยี่โถ
กะเพราช้าง
กะเพราแดงและขาว
หางนกยูงไทย
เล็บมือนาง
ต้อยติ่ง
ต๋องก๋ง
6. พืชที่มีสารไล่แมลงวันทองไม่ให้วางขา
กระเทียม
สะเดา
คำแสด
มะกรูด
แตงไทย
ตะไคร้
ข่าดง
หญ้าวงช้าง
เสน่ห์จันทน์โกเมน
ลำดวน
ละหุ่ง
พระตะมะ
เย็นหลวง
มหากำลัง
|
ใบ
ใบ
ใบ
ลำต้นและใบ
หัว
ใบ
ผล
ใบ
ใบ
ดอก
ทั้งต้น
Myh’9ho
ดอก
ใบ
ราก
ต้น
หัว
ใบ
ใบ
ใบ
เมล็ด
ใบ
หัว
ทั้งต้น
ทั้งต้น
ใบ
เมล็ด
หัว
หัว
หัว
|
ปานกลาง
ปานกลาง
สูง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
สูง
ปานกลาง
สูง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
สูง
สูง
สูง
สูง
สูง
สูง
สูง
สูง
ปานกลาง
สูง
สูง
สูง
ปานกลาง
|