kaset น้ำมันยาง Gurjun oil (ขนาดถัง200ลิตร)
ReadyPlanet.com
dot dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot

ราคาสินค้า
หมวดสินค้า
ยี่ห้อสินค้า

  [Help]
dot
dot
ชื่อผู้ใช้ :
รหัสผ่าน :
เข้าสู่ระบบอัตโนมัติ :
bullet ลืมรหัสผ่าน
bullet สมัครสมาชิก
dot
dot

dot


หน่วยงานราชการ
หนังสือการเกษตร


น้ำมันยาง Gurjun oil (ขนาดถัง200ลิตร)icon  

น้ำมันยาง wood oil (ขนาดถัง200ลิตร)
รหัส : BIO060
ราคาปกติ :  25,000.00 บาท      
ราคาพิเศษ :  21,000.00บาท

รายละเอียดย่อ :
น้ํามันยางมีชื่อเรียกสามัญโดยชาวตะวันตกว่า wood oil ต่อมาภายหลังอาจเรียกตามโครงสร้างสารเคมีว่า โอลีโอเรซิน (oleoresin) เป็นยางธรรมชาติเนื้อผสมกับน้ํามันที่เกิดจากการขับหลั่ง (exuding)หลังจากการเจาะและจุดไฟกระตุ้น ได้มาจากพรรณไม้สกุลยาง (Dipterocarpus)
รายละเอียดทั้งหมด :

 น้ํามันยาง...เชื้อเพลิงที่ถกลู ืม ผศ.ดร.วิชาญ เอียดทอง ๑, ๒ การใช้ประโยชน์จากต้นยางนา นอกจากเนื้อไม้แล้วนั้น น้ํามันยางเป็นของป่าที่สําคัญที่คนไทยเรารู้จกั นํามาใช้ตั้งแต่ครั้งโบราณ และใช้มาอย่างยาวนานจวบจนปัจจุบัน ซึ่งประโยชน์ของน้ํามันยางมีมากมาย ไม่ว่า ใช้เป็นเชื้อเพลิง ใช้เป็น “ขี้ไต้” หรือ คบไฟ ภาคอีสานเรียกว่า “ขี้กระบอง” (ภาพที่ ๑) นอกจากนี้ยังใช้อุดชัน เรือขุด ตลอดจนเป็นส่วนผสมในน้ํายางรักสําหรบทั ําเครื่องรัก ซึ่งการทําเครื่องรักนั้นมีมาอย่างยาวนานเช่นกัน อาทิเช่น มีหลักฐานนําไปใช้โดยช่างรักตระกูลวัดเชิงหวายในสมัยกรุงศรอยี ุธยา ฯลฯ น้ํามันยางมีชื่อเรียกสามัญโดยชาวตะวันตกว่า wood oil ต่อมาภายหลังอาจเรียกตามโครงสร้าง สารเคมีว่า โอลีโอเรซิน (oleoresin) เป็นยางธรรมชาติเนื้อผสมกับน้ํามันที่เกิดจากการขับหลั่ง (exuding) หลังจากการเจาะและจุดไฟกระตุ้น ได้มาจากพรรณไม้สกุลยาง (Dipterocarpus) ซึ่งในบ้านเรามีอยู่หลายชนิด ที่ชาวบ้านเจาะน้ํามันยางมาใช้นอกจากต้นยางนา (Dipterocarpus alatus) ที่พบได้ทั่วประเทศแลว้ ยังมียาง มันหมู (D. kerrii) และยงู (D. grandiflorus) พบเฉพาะในภาคใต้พลวง (D. tuberculatus) และกราด (D. intricatus) พบในภาคเหนือและอีสาน ยางแดง (D. turbinatus) และยางปาย (D. costatus) พบได้ทั่ว ประเทศ เป็นต้น ภูมิปัญญาการเจาะน้ํามันยางนั้น มีกรรมวิธีที่เริ่มจากการเจาะลําต้นยางให้เป็นโพรงขนาดประมาณ ๑๐ x ๑๕ x ๑๐ ซม. ตามปกติอุปกรณ์ที่ใช้เจาะนั้นคือขวาน ขณะที่ผู้เจาะน้ํามันยางในภาคใต้มีการตขวาน ี แบบพิเศษขึ้นมาเรียกว่า ระแมะ หรือบางครั้งอาจเรียกว่า “ขวานโพรง” ทําให้ขุดเจาะได้ง่าย เป็นขวานที่มีหัว แบนคล้ายจอบมีด้ามจับเป็นไม้ (นเรศ ศรีรัตน์, ๒๕๒๙: ๓๐๓๒) เมื่อเจาะโพรงแล้วก็ทาลายจ ํ ุดไฟกระตุ้นให้ น้ํามันยางไหลในโพรง พร้อมดับไฟทันทีด้วยใบไม้สด มิเช่นนั้นอาจเกิดไฟลุกลามเผาไหม้ไปทั้งต้นได้หลังจาก นั้นปล่อยทิ้งไวนาน ้ ๕-๗ วัน บางครั้งจําเป็นต้องใชภาชนะหร ้ ือเปลือกไม้มาปิด เพื่อป้องกันไม่ให้น้ําฝนหยดเข้า ไปปนกับน้ํามันยางในโพรงได้รอให้น้ํามันค่อย ๆ ไหลสะสมออกมาจนเต็มอยู่ในโพรงยาง จึงทําการเก็บน้ํามัน เมื่อครบเวลา แล้วนํามาบรรจุในปีบโลหะเพื่อสะดวกในการใช้ประโยชน์ต่อไป

๑ ภาควิชาชีววิทยาป่าไม้คณะวนศาสตร์มหาวทยาล ิ ัยเกษตรศาสตร์

๒ สํานักพิพิธภณฑั ์และวัฒนธรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร


จำนวน      ถัง


Copyright © 2010 All Rights Reserved.